โรคของนักมวย นักมวย อาชีพที่ต้องแลกมากับสุขภาพร่างกาย


โรคของนักมวย อันตรายจากการชกของ “นักมวยอาชีพ” และผลจากภัยร้ายหลังจากเลิกชกมวย

โรคของนักมวย นักมวยเป็นอาชีพ เป็นอาชีพที่เรียกว่ามีความเสี่ยงต่อสุขภาพสูง หรือบอกได้เลยว่า นักมวยอาชีพ เป็นอาชีพเสี่ยงภัย ซึ่งถูกมองข้ามด้านความปลอดภัย เพราะการชกมวยแต่ละครั้งนั้น ต่างก็มาซึ่งการบาดเจ็บ และการเจ็บป่วยสะสม ซึ่งหากว่ายิ่งประกอบอาชีพนักมวยมาเป็นเวลานานๆ ก็จะทำให้ความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต และสมองได้รับการกระทบกระเทือน ตาบอด และมีโอกาสสูญเสียความทรงจำสูงมาก ซึ่งก็มีตัวอย่างให้เราได้มากมาย

ที่นักมวยเสียชีวิตขณะชกหรือ หลังจากชกเสร็จ หรือมีอาการทางสมอง และอาการทางประสาท ทำให้เรื่องนี้จึงเป็นเรื่องสำคัญ ที่ไม่ควรมองข้ามเช่นกัน โดย 90% ของนักมวยที่มีอาการบาดเจ็บที่สมอง ถึงแม้ว่าผู้เสียชีวิตนั้น จะมีจำนวนน้อยกว่ากีฬาอื่นๆ แต่จำนวนนักมวยที่มีความเสียหายทางสมอง

กลับสูงจนน่าแปลกใจเลยทีเดียว ส่วนอาการบาดเจ็บที่ศีรษะ เป็นเรื่องธรรมดาใน กีฬาชกมวย นักมวยอาชีพ ซึ่งเป็นที่คาดกันว่าเมื่อ หมัดพุ่งตรงไปที่ศีรษะ มันก็เหมือนกับการถูกลูกบอลโบว์ลิ่ง 13 ปอนด์ การถูกตีที่ศีรษะอาจทำให้ กระดูกหักที่ศีรษะและใบหน้า หรือเนื้อเยื่อถูกทำลายกระทบสมอง โรคของนักมวย

และยังสามารถทำลายพื้นผิวของสมอง ทำลายเครือข่ายประสาท ทำให้เกิดแผลเลือดออก หรือก่อให้เกิดการอุดตัน ของเลือดภายในสมองได้นั่นเอง ทำให้อดีตนักมวยหลายๆคน มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคของสมอง อาการที่เกิดขึ้นกับนักมวยมืออาชีพ

พวกเขาอาจมีแนวโน้มที่จะเป็นโรค Alzheimer และ Parkinson โรคของ นักมวยอาชีพ ซึ่งทำให้สมองของนักมวยมีขนาดเล็กลง และสารสีเทาบนพื้นผิวบางลง แน่นอนว่ากีฬาทุกประเภทนั้น ย่อมมีความเสี่ยงอันตรายต่อร่างกายและชีวิต ไม่ว่าจะผลกระทบโดยตรง และผลกระทบทางอ้อม

ก็ขึ้นอยู่กับทักษะของนักกีฬา และมาตราการป้องกัน การกำกับดูแลของกีฬานั้นๆ อย่างไรก็ตามเมื่อคุณอยากเล่นกีฬาอะไรหรืออยากเป็น นักกีฬามืออาชีพ ก็ควรจะศึกษา และเตรียมสภาพร่างกายให้พร้อมเสมอ เพื่อความปลอดภัยทุกครั้ง เวทีมวยราชดำเนิน

โรคของนักมวย

 

โรคของนักมวย โรคพาร์กินสัน ที่กัดกินชีวิตของ “นักมวยระดับโลก” มาแล้วหลายคน

โรคของนักมวย โรคร้ายอย่าง “โรคพาร์กินสัน” เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมของสมอง สาเหตุของโรคนี้เกิดขึ้นจากเซลส์สมองตาย ผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน จึงมีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหวผิดปกติ และส่วนใหญ่แล้ว กว่าจะรู้ตัวว่าเป็นโรคพาร์คินสัน ผู้ป่วยก็มักจะมีอายุราว 65 ปีขึ้นไปแล้วอย่างเช่น กำปั้นระดับตำนาน ผู้นี้ “มูฮัมหมัด อาลี” เพราะที่สุดแล้วไม่ว่านักชกระดับตำนานคนนี้ จะมีฟุตเวิร์กที่เก่งแค่ไหน สักวันก็ต้องมีวันพลาด ตัวของอาลีเองก็เช่นกัน

ไม่ว่าฟุตเวิร์กและสายตาจะดีแค่ไหน แต่ก็มีไม่น้อยที่เขาโดนชกหน้าเต็มๆ แต่ภาพของเขาที่ลงไปนอนนับ 10 นั้นหาได้ยากมากๆ เนื่องจากเขาเป็นคนที่เก็บอาการเก่งมาก จนหลายคนแทบไม่รู้สึกเลยว่าเขาเจ็บปวด “มูฮัมหมัด อาลี” นักมวยอาชีพ กินหมัดมาตลอดชีวิต เขาอาจจะไม่แสดงออก

และไม่ได้รู้สึกว่ามันเป็นเรื่องเจ็บปวดอะไร และไม่คิดว่ามันจะอันตรายด้วย การโดนชกไฟต์ละหมัดสองหมัด ตั้งแต่เป็นนักมวยอาชีพตอนอายุ 19 ปี สั่งสมความเจ็บปวดมาทีละนิด ภายในร่างกายของอาลี การโดนชกที่หน้าหรือหัวนั้น ถือเป็นการสร้างความเสียหายมายังสมองโดยตรง อาการที่เกิดขึ้นกับนักมวยมืออาชีพ

และอาลีไม่เคยรู้เลยว่า ยิ่งเขาชกหลายไฟต์มากขึ้นเท่าไหร่ พาร์กินสันก็เริ่มหาทางแสดงตัวตนออกมาเท่านั้น ซึ่งที่สุดแล้วหลังจากที่ “มูฮัมหมัด อาลี” แขวนนวมได้ไม่กี่ปี อาลีก็รู้สึกว่าตัวเองมีอาการตัวสั่น ชอบร้องผวาในขณะนอนหลับ หลังของเขาเริ่มค่อม ตัวของเขาเริ่มงุ้มลง แต่ถึงอย่างไรก็ตาม

โรคของนักมวย

สำหรับอาลีเองเขาไม่เคยพูดเลยสักครั้ง ว่าเขาผิดหวังที่มวยทำให้ตัวเองเป็นเช่นนี้ เพราะมวยคือความภาคภูมิใจ และต่อให้เขาจะเป็นโรคพาร์กินสัน มือไม้สั่นเทา พูดช้า และเดินเหินไม่สะดวก เขาก็ยังคงเป็นแรงบันดาลใจ ของประชาชนและแฟนๆของเขาได้อยู่ดี นับตั้งแต่อาลีป่วย

เขาใช้เงินส่วนตัวเป็นจำนวนมาก ในการบริจาคเข้าองค์กรการวิจัยเกี่ยวกับสมอง เขาสร้างศูนย์วิจัยเกี่ยวกับโรคพาร์กินสัน ที่มีชื่อว่า “มูฮัมหมัด อาลี พาร์กินสัน เซนเตอร์” ในเมืองฟีนิกซ์ รัฐแอริโซน่า ประเทศสหรัฐอเมริกา ทั้งหมดที่เขาทำนั้น ก็เพราะว่าเขาต้องการให้ทุกคน

ได้ตระหนักรู้และเข้าใจว่าโรคนี้เป็นเช่นไร เขาทรมานมาแล้ว และไม่ต้องการให้ใครทรมานเหมือนที่เขาเป็น สุดท้ายแล้ว “มูฮัมหมัด อาลี” ก็สู้กับโรคร้ายนี้มาถึงวันที่ 3 มิถุนายน 2016 ด้วยวัยอันแก่ชรา และโรคที่รุนแรงเกินกว่าร่างกายของเขาจะต้านทานไหว อาลีจากไปอย่างสงบ แต่ทุกสิ่งที่เขาทำ ยังคงถูกผู้คนจดจำได้เสมอ เหมือนกับว่าเขายังคงเป็น นักมวยอาชีพ นักมวยเบอร์ 1 ของโลกไปตลอดกาล อาการที่เกิดขึ้นกับนักมวยมืออาชีพ

ส่วนไหนของร่างกายบ้างที่นักมวยได้รับบาดเจ็บมากที่สุด?

อาการที่เกิดขึ้นกับนักมวยมืออาชีพ การบาดเจ็บจากแผลฟกช้ำ ไม่ว่าจะฟันแตกหรือปัญหาทางทันตกรรม ซี่โครงหักเลือดออกภายใน และความเสียหายต่ออวัยวะภายใน ล้วนเป็นปัญหาที่หลีกเลี่ยงได้ยากของ “มวยอาชีพ” ทุกคนทั้งหมดนี้ก็ขึ้นอยู่กับความสามารถ และวิชาป้องกันตัวที่ลดผลกระทบให้น้อยที่สุด

เพราะถ้าหากทิ้งไว้นานๆ สมองจะเหี่ยว ซึ่งจะส่งผลในเรื่องความจำ นักมวยที่ถูกต่อยบริเวณส่วนบน จะเกิดอาการที่เรียกว่า “สมองกระฉอก” ความหนักเบาของอาการขึ้นกับแรงของหมัดที่โดน รวมทั้งความถี่ในการโดนหมัด รวมทั้งบริเวณ ที่โดนเป็นจุดสำคัญหรือไม่

เมื่อสมองถูกกระแทก ภายในสมองจะเกิดแรงเฉื่อยขึ้น จะส่งผลให้การเคลื่อนที่ ระหว่างสมองและกะโหลกที่ห่อหุ้ม สมองนั้นเป็นไปไม่พร้อมกัน สมองอาจเคลื่อนที่ไปช้ากว่ากะโหลก หรือกะโหลกอาจเคลื่อนที่ไปช้า กว่าสมอง ส่งผลให้เส้นเลือดดำที่เชื่อมระหว่าง สมองและชั้นเยื่อหุ้มใต้สมองเกิดการยืดออก

ซึ่งสุดท้ายแล้วจะนำไปสู่การฉีกขาด ทำให้เกิดอาการเลือดออกในสมอง และคั่งสะสมจนไปกดสมอง ส่งผลให้เกิดอาการทางร่างกายตามมา อาการจะเริ่มหนักขึ้น อย่างรวดเร็วจนอาจเสียชีวิตได้

โรคของนักมวย

  • บาดเจ็บบริเวณใบหน้าที่ถูกชก จะทำให้กระดูก ใบหน้าแตกหัก และส่งผลให้เกิดอันตรายต่อตา ทำให้จอประสาทตาหลุด และเลือดออกที่จอประสาทตา อันตรายต่อฟัน ที่อาจทำให้ฟันหัก
  • บาดเจ็บบริเวณใต้คางและบริเวณหน้าอก ซึ่งจะทำอันตรายต่อผิวหนัง เกิดบาดแผลฉีกขาด รอยฟกช้ำ หรืออาจพบซี่โครงเดาะ เลือดออกภายใน แต่ก็จะเป็นอันตรายน้อยกว่าที่เกิดกับบริเวณสมอง
  • บาดเจ็บด้านดวงตา จุดข้างดวงตามีความเสี่ยงมาก ที่จะถูกกระทบโดยตรงได้ง่ายจากการชกมวย ความเสียหายต่อดวงตาในการชกมวย อาจเกิดจากการสัมผัสโดยตรง หรือจากการกระแทก อาจส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บที่จอประสาทตา การตกเลือดที่จอประสาทตา และอาการบาดเจ็บอื่นๆตามมา
  • ขาดเจ็บบริเวณกระโหลกศีรษะ ซึ่งทำให้กะโหลกแตก เส้นเลือดและเส้นประสาทฉีกขาด จากการศึกษาสมองของนักมวย พบว่ามรอาการเซลล์สมองเสื่อม ความจำเสื่อม ลูกตาแกว่ง (Nystagmus) และสมองฟ่อ (Brain atrophy) จากการถูกชกซ้ำๆ บางรายที่เป็นโรคทางสมองเรื้อรัง พบโรคพาร์กินสัน สมองเสื่อม บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง cerebella dysfunction และ pyramidal tract dysfunction การถูกชกที่ศีรษะเหมือนกับการถูกตี เปรียบง่ายๆด้วยน้ำหนัก 12 ปอนด์ด้วยความเร็วที่ 20 ไมล์ ต่อชั่วโมง

“แมนนี่ ปาเกียว” นักมวยระดับโลก อีกหนึ่งรายที่ถูกโรคพาร์กินสันเล่นงาน

แพ็กแมน “แมนนี่ ปาเกียว” นักมวยชื่อดังจากฟิลิปปินส์ ได้รับรายงานจากทีมแพทย์ด้านปราสาทวิทยา จากโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในกรุง มินิลา ประเทศฟิลิปปินส์ หลังจากที่เขาเข้ารับการตรวจร่างกายอย่างละเอียด หลังที่แพ้น็อคให้กับ “ฮวน มานูเอล มาเกวส”

โดยผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยาบอกว่า สังเกตเห็นมือของปาเกียวมีอาการสั่น แม้ว่าจะเพียงแค่การสั้นเล็กน้อย แต่นั้นคือสัญญาณบ่งบอกถึงโรคพาร์กินสัน โรคของนักมวย และนี่อาจจะเป็นจุดเริ่มต้น ของการอำลาอาชีพนักมวยของ “แมนนี่ ปาเกียว” ซึ่งถ้าเขายังฝืนชกต่อไป

อาจจะทำให้เกิดอาการที่ชัดเจนมายิ่งขึ้นในระยะเวลาอันสั้น เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสภาพ ของระบบประสาทส่วนกลาง และมักจะเป็นโรคที่เกิดขึ้นกับ นักมวยชื่อดัง หลายๆคนหลังจากเลิกเป็น นักมวยอาชีพ รวมไปถึงนักมวยชาวไทยอย่าง “ชาติชาย เชี่ยวน้อย” อีกด้วย อาการที่เกิดขึ้นกับนักมวยมืออาชีพ

แต่ไม่ใช่ว่า “กีฬามวย” จะมีแต่ข้อเสีย เพราะมวยยังช่วยให้ร่างกายแข็งแรง หัวใจแข็งแรง

การต่อยมวยเป็นการออกกำลังกายที่เข้มข้นที่สุดสำหรับทุกๆคน การเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องของกีฬาชนิดนี้ ทำให้มันเป็นกิจกรรมคาร์ดิโอขั้นสูง คาร์ดิโอคือการออกกำลังกายเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด และกล้ามเนื้อหัวใจให้แข็งแรง ซึ่งการชกมวยจะส่งผล ต่ออัตราการเต้นของหัวใจเป็นระยะเวลานาน

การออกกำลังกายแบบคาร์ดิโอนั้น กลายเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในชีวิตของคนยุคใหม่ และการชกมวยก็เป็นการคาร์ดิโอที่ดีที่สุด ยังสามารถช่วยบรรเทาความเครียดได้อีกด้วย การต่อยมวยนั้นแตกต่างไปจากการออกกำลังกายอื่นๆ แต่การต่อยมวยสามารถช่วยให้คุณขจัดความเครียดในร่างกายได้เป็นอย่างดี

ข่าวสารเพิ่มเติม : ดูบอล