ประวัติมวยสากลสมัครเล่น ประวัติและกติกากีฬามวยสากลสมัครเล่น มวยที่เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์
ประวัติมวยสากลสมัครเล่น มวยสากล นั้นถ้าบอกว่ากีฬา การต่อสู้ที่เป็น ที่รู้จักกันมากที่สุดในโลก ปัจจุบันนี้คืออะไร คิดว่าคงตอบไม่ยากนัก มวยสากล นี่เอง เพราะมันคือความเป็น พื้นฐานที่สุดที่ คนจะต่อยกัน และก็ยังเป็นกีฬา ที่ค่าตัวนักมวยมาก ที่สุดอีกต่างหาก มวยสากลเป็นศิลปะ
การต่อสู้ที่มีมาแต่โบราณ โดยเป็นการต่อสู้ ด้วยมือเปล่าของ ทหารในสนามรบ และกลายเป็นเกมกีฬา ในการแข่งขันโอลิมปิค ในยุคโบราณ โดยที่นักมวยในยุคนั้น ไม่มีการจำกัดน้ำหนัก ไม่สวมเครื่องป้องกันตัว และไม่จำกัดว่า จะต้องใช้ได้เพียงหมัด สามารถกัดหรือ ถองคู่ต่อสู้ได้ โดยไม่มีกติกามากนัก
เพียงแต่นักมวยทั้งคู่ ต้องถอดเสื้อผ้าให้หมด ทั้งตัวเพื่อไม่ให้ ซ่อนอาวุธเอาไว้ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2236 เจมส์ ฟิกซ์ (James Figg) ผู้ชนะเลิศการต่อสู้ ด้วยมือเปล่าชาวอังกฤษ ได้กำหนดกฎกติกา ในการชก จนได้รับการเรียกขานว่าเป็น ” บิดาแห่งมวยสากล ” และต่อมาก็ได้มีผู้ สร้างนวมขึ้นมา
แต่ยังไม่มีการใช้ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2432 จอห์น แอล ซัลลิแวน (John L. Sulrivan) ผู้ชนะเลิศการชิงแชมป์ มวยด้วยมือเปล่า ประกาศว่าจะไม่ขอ ขึ้นชกด้วยมือเปล่าอีกต่อไป เป็นจุดเริ่มต้นของ การชกด้วยการสวมนวม และได้พัฒนาจน มาเป็นเกมกีฬาที่ มีกติกาชัดเจนเช่น ในปัจจุบัน
ประวัติมวยสากลสมัครเล่น ที่มาของการเข้ามายังประเทศไทย
มวยสากลหรือที่เรียก ในยุคแรกว่า มวยฝรั่ง เข้าสู่ประเทศไทย ครั้งแรกราวๆ พ.ศ. 2455 โดยได้แบบอย่างจาก ประเทศอังกฤษ ผู้นำมาเผยแพร่คือ หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิวงศ์ สวัสดิกุล ครั้งแรกนำมาเผยแพร่ ที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และแพร่ต่อไปยังโรงเรียนต่างๆ มีการจัดแข่งขัน มวยนักเรียนซึ่งเป็น แบบมวยสากลสมัครเล่น และต่อมา พระยาคฑาธรบดีสีหบาลเมือง เช่าพื้นที่ด้านศาลาแดง ของสวนลุมพินี จัดให้มีการละเล่นต่างๆ เรียกว่าสวนสนุก
มีการสั่งนักมวยสากล จากต่างชาติมา ชกโชว์เรียกว่า “เต็ดโชว์” เมื่อเป็นที่นิยมจึง มีการคัดเลือกนักมวย สากลชาวไทยขึ้นชกกับ นักมวยต่างชาติเหล่านั้น ในแบบมวยสากลอาชีพ การชกระหว่าง นักมวยสากลชาวไทย กับต่างชาติมีขึ้นครั้งแรกเมื่อ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2472 ในวันนั้น สุวรรณ นิวาศวัต
นักมวยไทยชื่อดังขึ้นชก เป็นคู่แรก แพ้น็อค เทอรี่ โอคัมโป (ฟิลิปปินส์) ยก 4 ส่วนคู่ที่ 2 โม่ สัมบุณณานนท์ ชนะน็อค ยีซิล โคโรนา (ฟิลิปปินส์) ยก 4 จากนั้นกีฬามวยสากล เริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้น มีนักมวยสากลชาวไทย ชกชนะสร้างชื่อเสียงอยู่เนืองๆ เช่น สมพงษ์ เวชสิทธิ์ เป็นแชมป์มวยสากล
ของสิงคโปร์ ผล พระประแดงเป็นรองแชมป์โลก คนแรก จำเริญ ทรงกิตรัตน์ เป็นแชมป์ OPBF คนแรกและ ขึ้นชิงแชมป์โลกเป็นคนแรก ด้วยแต่ไม่สำเร็จ แชมป์โลกชาวไทยคนแรกคือ โผน กิ่งเพชร ซึ่งได้ครองแชมป์เมื่อ พ.ศ. 2503 ปัจจุบัน (พ.ศ. 2550) ประเทศไทยมีแชมป์โลกทั้งสิ้น 37 คน ในจำนวนนี้มีนักมวย ที่สร้างสถิติโลกและ เอเชียมามากมาย มวยปล้ำอาชีพ
กฏกติกาของมวยสากลสมัครเล่น มีอะไรบ้าง
กติกาสากล อันเป็นรากฐาน ก็จะแบ่งการแข่งขันออกเป็น 3 ยก 2 ยกแรก ยกละ 3 นาที ยกสุดท้าย 4 นาทีการตัดสินก็โดย ความเห็นชอบจาก ฝ่ายข้างมากของ ผู้ตัดสิน ผู้ใดชกล้มถือว่าแพ้ ถ้าไม่ลุกขึ้นมาภายใน 10 วินาที การชกต้องสวมนวม อยู่ตลอดเวลา ผู้ชี้ขาดจะต้องอยู่ใ นสังเวียนเพียงคนเดียว
กับนักมวยอีกสองคน เท่านั้น กติกานี้วงการมวย สมัครเล่นนำไปใช้ทันที แต่สำหรับมวยอาชีพค่อยๆ นำไปใช้ในตอนหลัง มวยอาชีพได้มีการ เปลี่บนแปลงเรื่องจำนวนยก คือสู้กี่ยกก็ได้ แล้วแต่จะตกลงกัน ในปี พ.ศ. 2424 ได้วางกติกามวย สมัครเล่นขึ้นใหม่ ซึ่งส่วนใหญ่จะ คล้ายกับของเดิม
เพียงแต่เพิ่มระเบียบ การตัดสินและการบันทึก ให้รัดกุมเท่านั้น การใช้นวมเริ่มกัน อย่างจริงจังในสมัย การใช้กติกาควีนสเบอรี่ (Queensberry) ปี พ.ศ. 2403 นี้เอง ก่อนนั้นนิยมการ พันมือแทนนวม และค่อยๆ เปลี่ยนมาเรื่อยๆ จนถึงสมัยกิจกรรมมวย ได้ถูกยกย่องขึ้นเป็นศิลป์ ความจริงการใช้นวม ทำให้การชกลดอัน ครายลงได้มาก และทำให้การชกรวดเร็วขึ้น ผู้ชกไม่ต้องห่วง ถึงอันตรายเกี่ยวกับ มือหักหรือเคล็ดอีกต่อไป
มวยสากลอาชีพและมวยสากลสมัครเล่น ต่างกันอย่างไร
ถึงแม้ทั้งมวยสากลอาชีพ และมวยสากลสมัครเล่น อาจจะดูคล้ายคลึงกันมาก ไม่มีอะไรมากกว่าปล่อยหมัดใส่กัน ใครสามารถล้มคู่ต่อสู้ ได้ก่อนก็เป็นฝ่ายชนะ หรือถ้าไม่มีใครลงไป กองกับพื้นเวที จนครบกำหนดยก ผู้ที่ปล่อยหมัดเข้าเป้า มากกว่าก็จะเป็นผู้ชนะ แต่เมื่อพิจารณาดูอย่าง ละเอียดจะพบว่ามัน
แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง เรียกว่าแทบจะเป็น กีฬาคนละชนิดกันเลย ก็ว่าได้ความแตกต่าง อย่างแรกคือเรื่อง ของกฎกติกา ตามมาตรฐานมวยสากล สมัครเล่นของโอลิมปิก จำนวนยกจะมีเพียงแค่ 3 ยก ยกละ 3 นาทีเท่านั้น ในขณะที่มวยสากลอาชีพ มาตรฐานศึกชิงแชมป์โลก
ของสถาบันหลักอย่าง WBC หรือ WBA มีจำนวนยก มากกว่าถึง 4 เท่าตัว คือ 12 ยก ยกละ 3 นาที ดังนั้นการจะชนะคู่ต่อสู้ ด้วยการน็อกสำหรับ มวยสากลสมัครเล่น จึงเป็นเรื่องยากมากๆ เนื่องจากเวลาในการชก ที่มีอย่างจำกัด ไม่เพียงพอในการค่อยๆนวด ให้คู่ต่อสู้บาดเจ็บไปเรื่อยๆ
การน็อกส่วนใหญ่จึงมาจาก หมัดปาฏิหาริย์ เปรี้ยงเดียวจอดแทบทั้งสิ้น แม้ทางสมาคมมวยสากล สมัครเล่นนานาชาติ หรือ AIBA จะมีการปรับเปลี่ยน กติกาเป็นระยะๆ อย่างการปรับให้เป็น การแข่งขัน 5 ยก ยกละ 2 นาที ช่วงปี 1997-1999 และ 4 ยก ยกละ 2 นาที ระหว่างปี 1999-2009 เพื่อให้ใกล้เคียงกับมวยอาชีพยิ่งขึ้น ก็ไม่ได้ปรับเปลี่ยนภาพรวม ของการแข่งขันเสียเท่าไหร่
อ่ายบทความมวยเพิ่มเติม >> มวยปล้ำอาชีพ
ข้อมูลข่าวสารมวยครบวงจรจาก : ดูบอล123 แทงบอลยูโร